วันอาทิตย์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2562
ครั้งที่ 14
วันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ 2562
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้เป็นวันสุดท้ายของการเรียนการสอนวันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอของเล่นที่ได้คัดเลือกมา 1 ชิ้นงานที่นักศึกษาสนใจ
วันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ 2562
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้เป็นวันสุดท้ายของการเรียนการสอนวันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอของเล่นที่ได้คัดเลือกมา 1 ชิ้นงานที่นักศึกษาสนใจ
บรรยากาศในชั้นเรียน
และวันนี้อาจารย์ได้เล่นเครื่องเคาะจังหวะโดยตีเป็น เพลง ช้าง ให้นักศึกษาฟัง
ประเมินตนเอง
ฉันตั้งใจเรียนและตั้งใจฟังอาจารย์สอนเป็นอย่างดี
ประเมินเพื่อน
เพื่อนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีและตั้งใจฟังอาจารย์
ประเมินอาจารย์
อาจารย์สอนดีคอยให้คำชี้แนะการทำสื่อของเล่น อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับสื่อที่นักศึกษาเลือกมานำเสนอ
ครั้งที่ 13
วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ 2562
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อวันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาออกมานำเสนอของเล่นโดยออกมานำเสนอทีละคน ซึ่งวันนี้ฉันได้นำเสนอ ปลาวาฬกระดาษ
วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ 2562
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อวันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาออกมานำเสนอของเล่นโดยออกมานำเสนอทีละคน ซึ่งวันนี้ฉันได้นำเสนอ ปลาวาฬกระดาษ
บรรยากาศในชั้นเรียน
ประเมินตนเอง
วันนี้ฉันตั้งใจฟังเพื่อนๆนำเสนอของเล่นเป็นอย่างดีและฉันตั้งใจนำของเล่นอย่างล่นเป็นอย่างดีและฉันตั้งใจนำของเล่นอย่างให้ออกมาดีที่สุด
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆตั้งใจนำเสนอของเล่นกันเป็นอย่างดีและให้ความร่วมมือในการฟังเพื่อนที่ออกมานำเสนออย่างตั้งใจ
ประเมินอาจารย์
ครั้งที่ 12
วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ 2562
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์ได้นัดให้นักศึกษาทุกคนมาจัดกิจกรรมสอนวิทยศาสตร์ให้กับเด็กๆที่ ศูนย์เด็กปฐมวัยเสือใหญ่ หลังมหาวิทยาลัย ราชภัฏจันทรเกษม
โดยกลุ่มของฉันก็คือ การทดลองสถานีเติมลม
วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ 2562
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์ได้นัดให้นักศึกษาทุกคนมาจัดกิจกรรมสอนวิทยศาสตร์ให้กับเด็กๆที่ ศูนย์เด็กปฐมวัยเสือใหญ่ หลังมหาวิทยาลัย ราชภัฏจันทรเกษม
โดยกลุ่มของฉันก็คือ การทดลองสถานีเติมลม
ภาพบรรยากาศในการจัดกิจกรรม
ประเมินตนเอง
วันนี้ฉันได้ไปจัดกิจกรรมให้กับน้องๆรู้สึกสนุกมากค่ะ น้องๆที่นั่นน่ารักทุกคนเลย
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆตั้งใจสอนเด็กลองวิทยาศาสตร์กันอย่างตั้งใจ
ประเมินอาจารย์
อาจารย์คอยแนะนำเพิ่มเติมในการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ในครั้งนี้ว่าควรจะปรับปรุงหรือเพิ่มเติมอย่างไรในการสอนเด็กปื่อเอาไปสอนเด็กในอนาคต
ครั้งที่ 11
วันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ 2562
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาจับกลุ่มและมอบหมายงานให้นักศึกษาทำ โดยให้จัดแผนการสอนในหน่วยต่างๆได้ให้นักศึกษาเลือกหน่วยอะไรก็ได้มากลุ่มละ 1หน่วย
หลังจากนั้นอาจารย์ก็ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอแผนการสอนโดยนำเสนอทีละกลุ่ม
ประเมินตนเอง
วันนี้ฉันตั้งใจเรียนและช่วยเพื่อนๆทำแผนการสอนอย่างตั้งใจ
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆตั้งใจทำแผนการสอนกันอย่างตั้งใจและช่วยกันระบายสีกันเป็นอย่างดี
ประเมินอาจารย์
อาจารย์สอนดีเข้าใจง่าย อธิบายเนื้อหาที่สอนได้อย่างระเอียดทำให้นักศึกษาทำแผนการสอนได้ตรงตามเป้าหมายที่ครูวางไว้
วันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ 2562
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาจับกลุ่มและมอบหมายงานให้นักศึกษาทำ โดยให้จัดแผนการสอนในหน่วยต่างๆได้ให้นักศึกษาเลือกหน่วยอะไรก็ได้มากลุ่มละ 1หน่วย
บรรยากาศในชั้นเรียน
ประเมินตนเอง
วันนี้ฉันตั้งใจเรียนและช่วยเพื่อนๆทำแผนการสอนอย่างตั้งใจ
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆตั้งใจทำแผนการสอนกันอย่างตั้งใจและช่วยกันระบายสีกันเป็นอย่างดี
ประเมินอาจารย์
อาจารย์สอนดีเข้าใจง่าย อธิบายเนื้อหาที่สอนได้อย่างระเอียดทำให้นักศึกษาทำแผนการสอนได้ตรงตามเป้าหมายที่ครูวางไว้
ครั้งที่ 10
วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ 2562
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์ได้พานักศึกษาทุกคนมาจัดประสบการณ์สอนที่ศูนย์เด็กปฐมวัยเสือใหญ่ ซอย เสือใหญ่ หลังมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม
โดยวันนี้มีฐานทั้งหมด 3 ฐาน
1.ฐานเป่าฟองสบู่
2.ฐานเงาจะทอดเมื่อไหร่
3.ฐานละลาย
วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ 2562
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์ได้พานักศึกษาทุกคนมาจัดประสบการณ์สอนที่ศูนย์เด็กปฐมวัยเสือใหญ่ ซอย เสือใหญ่ หลังมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม
โดยวันนี้มีฐานทั้งหมด 3 ฐาน
1.ฐานเป่าฟองสบู่
2.ฐานเงาจะทอดเมื่อไหร่
3.ฐานละลาย
ภาพบรรยากาศที่ศูนย์เด็กปฐมวัยเสือใหญ่
และวันนี้ได้สอนน้องๆระบายสีทำปากขยับ
ประเมินตนเอง
ฉันช่วยเพื่อนๆจัดเด็กและดูแลเด็กขณะทำกิจกรรมฉันรู้สึกดีใจที่ได้มามูลนิธินี้ได้มาช่วยเพื่อนๆจัดกิจกรรมการสอนเด็กๆน่ารักมากๆเลยค่ะ
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีช่วยกันดูแลน้องๆ
ประเมินอาจารย์
อาจารย์ให้คำแนะนำเป็นอย่างดีในการจัดกิจกรรมการสอนว่าควรเพิ่มเติมอย่างไร
วันพุธที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2562
ครั้งที่ 9
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับพลังงานต่างๆ เช่น พลังงานลม พลังงานไฟฟฟฟ้าและพลังงานอื่น และให้นักศึกษาออกมานำเสนอทีละคนและอาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับการทำสื่อปฐมวัยโดยอาจารย์ได้แจกกระดาษ A4 คนละ 1 แผ่นโดยให้นักเรียนพับครึ่งกระดาษโดยมีอุปกรณ์ดังนี้
อุปกรณ์
1.กระดาษ A4
2.ดินสอ
3.ยางลบ
4.ไม้บรรทัด
5.สี
6.ตะเกียบ
กิจกรรมที่ 1 อาจารย์ให้นักศึกษานำกระดาษมาพับครึ่งทางแนวนอนแล้วพับให้ได้ 4 ช่อง
แล้วตัดกระดาษออกมาเป็นคู่ๆ จากนั้นวัดจากขอบกระดาษประมาณ 2 เซนติเมตรแล้วพับให้สั่น 2 เซนตามที่วัดไว้โดยจะมีอีกข้างสั่นอีกข้างยาวให้เอาข้างที่สั่นพิกขึ้นแล้ววาดรูปอะไรก็ได้ให้ภาพมีแตกต่างกันระหว่างข้างหน้ากับข้างหลัง
กิจกรรมที่ 2 อาจารย์ให้พับกระดาษเป็นรูปอะไรก็ได้มา 1 รูป
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆตั้งใจเรียนและพับกระดาษกันอย่างตั้งใจ
ประเมินอาจารย์
อาจารย์สอนเข้าใจง่าย อธิบายวิธีพับกระดาษอย่างละเอียด
เพื่อนๆตั้งใจเรียนและพับกระดาษกันอย่างตั้งใจ
ประเมินอาจารย์
อาจารย์สอนเข้าใจง่าย อธิบายวิธีพับกระดาษอย่างละเอียด
วันเสาร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2562
ครั้งที่ 8
วันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ 2562
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มจัดทำโครงงานที่ได้นำเสนอไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว แล้วเขียนรายละเอียดของโครงงานให้ครบถ้วนตามที่อาจารย์สั่งียดระบุวันเวลาห้ครบถ้วนตามที่อาจารย์สั่งโดยระบุวันเวลาที่ดำเนินการทดลองให้ถูกต้อง ตามแผนงานที่ได้รับ
ประเมินตนเอง
ได้ฝึกทักษะกระบวนการทำงานร่วมกัน
ประเมินเพื่อน
เพื่อนตั้งใจทำงานที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี
ประเมินอาจารย์
อาจารย์สอนดี เข้าใจง่าย
วันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ 2562
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มจัดทำโครงงานที่ได้นำเสนอไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว แล้วเขียนรายละเอียดของโครงงานให้ครบถ้วนตามที่อาจารย์สั่งียดระบุวันเวลาห้ครบถ้วนตามที่อาจารย์สั่งโดยระบุวันเวลาที่ดำเนินการทดลองให้ถูกต้อง ตามแผนงานที่ได้รับ
ภาพบรรยากาศในชั้นเรียน
ได้ฝึกทักษะกระบวนการทำงานร่วมกัน
ประเมินเพื่อน
เพื่อนตั้งใจทำงานที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี
ประเมินอาจารย์
อาจารย์สอนดี เข้าใจง่าย
ครั้งที่ 7
วันที่ 30 กันยายน พ.ศ 2562
ความรู้ที่ไดัรับ
วันนี้อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอการทดลองต่อจากสัปดาห์ที่แล้ว โดยให้กลุ่มที่เหลือออกมานำเสนอหน้าห้องทีละกลุ่ม หลังจากนำเสนอครบทุกกลุ่มแล้วอาจารย์ก็ให้นักศึกษานั่งตามกลุ่มแล้วให้นักศึกษาทำการทดลองว่าจะทำอย่างไรน้ำในแก้วมันถึงจะล้น โดยใช้เหรียญ 1 บาททั้งหมดกี่เหรียญ
อุปกรณ์
1.ขวดน้ำ
2.มีดคัดเตอร์
3.น้ำ
4.เหรียญ 1บาท
วิธีทำ
1.นำขวดน้ำมาตัดเป็นแก้วน้ำแล้วใส่น้ำลงไปจนเกือบ
เกือบเต็ม
2.หลังจากนั้นให้นำเหรียญ1บาทมาหยอดทีละเหรียญจนกว่าน้ำจะล้นจากแก้ว
3.กลุ่มไหนน้ำล้นจากแก้วก่อนเป็นผู้ชนะ
ประเมินตนเอง
วันนี้ฉันรู้สึกสนุกสนานที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนๆในห้องเรียน
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการทำกิจกรรมในห้องเรียน
ประเมินอาจารย์
อาจารย์สอนดี อธิบายการกิจกรรม การสอนได้อย่างชัดเจน เข้าใจง่าย
1.Hypothesis สมมติฐาน
2.Overflow ล้น
3.Plastic พลาสติก
4.Duly ตรงต่อเวลา
5.Achieve บรรลุ
วันที่ 30 กันยายน พ.ศ 2562
ความรู้ที่ไดัรับ
วันนี้อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอการทดลองต่อจากสัปดาห์ที่แล้ว โดยให้กลุ่มที่เหลือออกมานำเสนอหน้าห้องทีละกลุ่ม หลังจากนำเสนอครบทุกกลุ่มแล้วอาจารย์ก็ให้นักศึกษานั่งตามกลุ่มแล้วให้นักศึกษาทำการทดลองว่าจะทำอย่างไรน้ำในแก้วมันถึงจะล้น โดยใช้เหรียญ 1 บาททั้งหมดกี่เหรียญ
อุปกรณ์
2.มีดคัดเตอร์
3.น้ำ
4.เหรียญ 1บาท
วิธีทำ
1.นำขวดน้ำมาตัดเป็นแก้วน้ำแล้วใส่น้ำลงไปจนเกือบ
เกือบเต็ม
2.หลังจากนั้นให้นำเหรียญ1บาทมาหยอดทีละเหรียญจนกว่าน้ำจะล้นจากแก้ว
3.กลุ่มไหนน้ำล้นจากแก้วก่อนเป็นผู้ชนะ
ประเมินตนเอง
วันนี้ฉันรู้สึกสนุกสนานที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนๆในห้องเรียน
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการทำกิจกรรมในห้องเรียน
ประเมินอาจารย์
อาจารย์สอนดี อธิบายการกิจกรรม การสอนได้อย่างชัดเจน เข้าใจง่าย
คำศัพท์
1.Hypothesis สมมติฐาน
2.Overflow ล้น
3.Plastic พลาสติก
4.Duly ตรงต่อเวลา
5.Achieve บรรลุ
ครั้งที่6
วันที่ 9 กันยายน พ.ศ 2562
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษานำเสนอการทดลองที่แต่ละกลุ่มได้เลือกไว้อาจารย์ กลุ่มของดิฉันได้เสนอการทดลองเรื่องสถานีมีลม และอาจารย์ได้พูดถึงทักษะวิทยาศาสตร์หลังจากนั้นอาจารย์ก็ให้นั่งตามกลุ่มแล้วช่วยกักก้นอาจารย์ก็ให้นั่งตามกลุ่มแล้วช่วยกักกาดรนอแหล่งน้ำมา1แหล่งโดยจะให้เพื่อนๆทายว่าแหล่งน้ำที่วาดมาจากที่ไหน อยู่จังหวัดใด แล้วชื่อว่าอะไร กลุ่มของฉัน วาดน้าตกเอราวัณและอาจารย์ก็ให้นักศึกษาออกแบบที่กักเก็บน้ำ
ทักษะทางวิทยาศาสตร์ ทั้งหมด 13ทักษะ ดังนี้
ทักษะที่ 1 การสังเกต (Observing) หมายถึง การใช้ประสาทสัมผัสของร่างกายอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ได้แก่ หู ตา จมูก ลิ้น กายสัมผัส เข้าสัมผัสกับวัตถุหรือเหตุการณ์เพื่อให้ทราบ และรับรู้ข้อมูล รายละเอียดของสิ่งเหล่านั้น โดยปราศจากความคิดเห็นส่วนตน ข้อมูลเหล่านี้จะประกอบด้วย ข้อมูลเชิงคุณภาพ เชิงปริมาณ และรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการสังเกต
ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ
– สามารถแสดงหรือบรรยายคุณลักษณะของวัตถุได้ จากการใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง
– สามารถบรรยายคุณสมบัติเชิงประมาณ และคุณภาพของวัตถุได้
– สามารถบรรยายพฤติการณ์การเปลี่ยนแปลงของวัตถุได้
ทักษะที่ 2 การวัด (Measuring) หมายถึง การใช้เครื่องมือสำหรับการวัดข้อมูลในเชิงปริมาณของสิ่งต่างๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลเป็นตัวเลขในหน่วยการวัดที่ถูกต้อง แม่นยำได้ ทั้งนี้ การใช้เครื่องมือจำเป็นต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด รวมถึงเข้าใจวิธีการวัด และแสดงขั้นตอนการวัดได้อย่างถูกต้อง
ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ
– สามารถเลือกใช้เครื่องมือได้เหมาะสมกับสิ่งที่วัดได้
– สามารถบอกเหตุผลในการเลือกเครื่องมือวัดได้
– สามารถบอกวิธีการ ขั้นตอน และวิธีใช้เครื่องมือได้อย่างถูกต้อง
– สามารถทำการวัด รวมถึงระบุหน่วยของตัวเลขได้อย่างถูกต้อง
ทักษะ ที่ 3 การคำนวณ (Using numbers) หมายถึง การนับจำนวนของวัตถุ และการนำตัวเลขที่ได้จากนับ และตัวเลขจากการวัดมาคำนวณด้วยสูตรคณิตศาสตร์ เช่น การบวก การลบ การคูณ การหาร เป็นต้น โดยการเกิดทักษะการคำนวณจะแสดงออกจากการนับที่ถูกต้อง ส่วนการคำนวณจะแสดงออกจากการเลือกสูตรคณิตศาสตร์ การแสดงวิธีคำนวณ และการคำนวณที่ถูกต้อง แม่นยำ
ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ
– สามารถนับจำนวนของวัตถุได้ถูกต้อง
– สามารถบอกวิธีคำนวณ แสดงวิธีคำนวณ และคิดคำนวณได้ถูกต้อง
ทักษะที่ 4 การจำแนกประเภท (Classifying) หมายถึง การเรียงลำดับ และการแบ่งกลุ่มวัตถุหรือรายละเอียดข้อมูลด้วยเกณฑ์ความแตกต่างหรือความสัมพันธ์ใดๆอย่างใดอย่างหนึ่ง
ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ
– สามารถเรียงลำดับ และแบ่งกลุ่มของวัตถุ โดยใช้เกณฑ์ใดได้อย่างถูกต้อง
– สามารถอธิบายเกณฑ์ในเรียงลำดับหรือแบ่งกลุ่มได้
ทักษะที่ 5 การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา (Using space/Time relationships)
สเปสของวัตถุ หมายถึง ที่ว่างที่วัตถุนั้นครองอยู่ ซึ่งอาจมีรูปร่างเหมือนกันหรือแตกต่างกับวัตถุนั้น โดยทั่วไปแบ่งเป็น 3 มิติ คือ ความกว้าง ความยาว และความสูง ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสของวัตถุ ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่าง 3 มิติ กับ 2 มิติ ความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่งที่อยู่ของวัตถุหนึ่งกับวัตถุหนึ่ง
ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสของวัตถุกับเวลา ได้แก่ ความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของวัตถุกับช่วงเวลา หรือความสัมพันธ์ของสเปสของวัตถุที่เปลี่ยนไปกับช่วงเวลา
ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ
– สามารถอธิบายลักษณะของวัตถุ 2 มิติ และวัตถุ 3 มิติ ได้
– สามารถวาดรูป 2 มิติ จากวัตถุหรือรูป 3 มิติ ที่กำหนดให้ได้
– สามารถอธิบายรูปทรงทางเราขาคณิตของวัตถุได้
– สามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุ 2 มิติ กับ 3 มิติได้ เช่น ตำแหน่งหรือทิศของวัตถุ และตำแหน่งหรือทิศของวัตถุต่ออีกวัตถุ
– สามารถบอกความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของวัตถุกับเวลาได้
– สามารถบอกความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงขนาด ปริมาณของวัตถุกับเวลาได้
ทักษะที่ 6 การจัดกระทำ และสื่อความหมายข้อมูล (Communication) หมายถึง การนำข้อมูลที่ได้จากการสังเกต และการวัด มาจัดกระทำให้มีความหมาย โดยการหาความถี่ การเรียงลำดับ การจัดกลุ่ม การคำนวณค่า เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายได้ดีขึ้น ผ่านการเสนอในรูปแบบของตาราง แผนภูมิ วงจร เขียนหรือบรรยาย เป็นต้น
ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ
– สามารถเลือกรูปแบบ และอธิบายการเลือกรูปแบบในการเสนอข้อมูลที่เหมาะสมได้
– สามารถออกแบบ และประยุกต์การเสนอข้อมูลให้อยู่ในรูปใหม่ที่เข้าใจได้ง่าย
– สามารถเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เข้าใจได้ง่าย
– สามารถบรรยายลักษณะของวัตถุด้วยข้อความที่เหมาะสม กะทัดรัด และสื่อความหมายให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย
ทักษะที่ 7 การลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring) หมายถึง การเพิ่มความคิดเห็นของตนต่อข้อมูลที่ได้จากการสังเกตอย่างมีเหตุผลจากพื้นฐานความรู้หรือประสบการณ์ที่มี
ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ คือ สามารถอธิบายหรือสรุปจากประเด็นของการเพิ่มความคิดเห็นของตนต่อข้อมูลที่ได้มา
ทักษะที่ 8 การพยากรณ์ (Predicting) หมายถึง การทำนายหรือการคาดคะเนคำตอบ โดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการสังเกตหรือการทำซ้ำ ผ่านกระบวนการแปรความหายของข้อมูลจากสัมพันธ์ภายใต้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ คือ สามารถทำนายผลที่อาจจะเกิดขึ้นจากข้อมูลบนพื้นฐานหลักการ กฎ หรือทฤษฎีที่มีอยู่ ทั้งภายในขอบเขตของข้อมูล และภายนอกขอบเขตของข้อมูลในเชิงปริมาณได้
ทักษะที่ 9 การตั้งสมมติฐาน (Formulating hypotheses) หมายถึง การตั้งคำถามหรือคิดคำตอบล่วงหน้าก่อนการทดลองเพื่ออธิบายหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ ว่ามีความสัมพันธ์อย่างไรโดยสมมติฐานสร้างขึ้นจะอาศัยการสังเกต ความรู้ และประสบการณ์ภายใต้หลักการ กฎ หรือทฤษฎีที่สามารถอธิบายคำตอบได้
ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ
– สามารถตั้งคำถามหรือคิดหาคำตอบล่วงหน้าก่อนการทดลองได้
– สามารถตั้งคำถามหรือคิดหาคำตอบล่วงหน้าจากความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆได้
ทักษะที่ 10 การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining operationally) หมายถึง การกำหนด และอธิบายความหมาย และขอบเขตของคำต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาหรือการทดลองเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันระหว่างบุคคล
ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ คือ สามารถอธิบายความหมาย และขอบเขตของคำหรือตัวแปรต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา และการทดลองได้
ทักษะที่ 11 การกำหนด และควบคุมตัวแปร (Identifying and controlling variables) หมายถึง การบ่งชี้ และกำหนดลักษณะตัวแปรใดๆให้เป็นเป็นตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น และตัวแปรใดๆให้เป็นตัวแปรตาม และตัวแปรใดๆให้เป็นตัวแปรควบคุม
ตัวแปรต้น คือ สิ่งที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดผลหรือสิ่งที่ต้องการทดลองเพื่อให้ทราบว่าเป็นสาเหตุของผลที่เกิดขึ้นหรือไม่
ตัวแปรตาม คือ ผลที่เกิดจากการกระทำของตัวแปรต้นในการทดลอง
ตัวแปรควบคุม คือ ปัจจัยอื่น ๆ นอกเหนือจากตัวแปรต้นที่อาจมีผลมีต่อการทดลองที่ต้องควบคุมให้เหมือนกันหรือคงที่ขณะการทดลอง
ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ คือ สามารถกำหนด และอธิบายตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุมในการทดลองได้
ทักษะที่ 12 การทดลอง (Experimenting) หมายถึง กระบวนการปฏิบัติ และทำซ้ำในขั้นตอนเพื่อหาคำตอบจากสมมติฐาน แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ
1. การออกแบบการทดลอง หมายถึง การวางแผนการทดลองก่อนการทดลองจริงๆ เพื่อกำหนดวิธีการ และขั้นตอนการทดลองที่สามารถดำเนินการได้จริง รวมถึงวิธีการแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นขณะทำการทดลองเพื่อให้การทดลองสามารถดำเนินการให้สำเร็จลุล่วงด้วยดี
2. การปฏิบัติการทดลอง หมายถึง การปฏิบัติการทดลองจริง
3. การบันทึกผลการทดลอง หมายถึง การจดบันทึกข้อมูลที่ได้จากการทดลองซึ่งอาจเป็นผลจากการสังเกต การวัดและอื่น ๆ
ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ
– สามารถออกแบบการทดลอง และกำหนดวิธี ขั้นตอนการทดลองได้ถูกต้อง และเหมาะสมได้
– สามารถระบุ และเลือกใช้อุปกรณ์ในการทดลองอย่างเหมาะสม
– สามารถปฏิบัติการทดลองตามขั้นตอนได้อย่างถูกต้อง
– สามารถบันทึกผลการทดลองได้อย่างถูกต้อง
ทักษะที่ 13 การตีความหมายข้อมูล และการลงข้อมูล (Interpreting data and conclusion) หมายถึง การแปรความหมายหรือการบรรยายลักษณะและสมบัติของข้อมูลที่มีอยู่ การตีความหมายข้อมูลในบางครั้งอาจต้องใช้ทักษะอื่น ๆ เช่น ทักษะการสังเกต ทักษะการคำนวณ
การลงข้อมูล หมายถึง การวิเคราะห์ และการสรุปผลความสัมพันธ์ของข้อมูล สรุปประเด็นสำคัญของข้อมูลที่ได้จากการทดลองหรือศึกษา
ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ คือ
– สามารถในการวิเคราะห์ และสรุปประเด็นสำคัญ รวมถึงการแปลความหมายหรือบรรยายลักษณะของข้อมูล
– สามารถบอกความสัมพันธ์ของข้อมูลได้
วันที่ 9 กันยายน พ.ศ 2562
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษานำเสนอการทดลองที่แต่ละกลุ่มได้เลือกไว้อาจารย์ กลุ่มของดิฉันได้เสนอการทดลองเรื่องสถานีมีลม และอาจารย์ได้พูดถึงทักษะวิทยาศาสตร์หลังจากนั้นอาจารย์ก็ให้นั่งตามกลุ่มแล้วช่วยกักก้นอาจารย์ก็ให้นั่งตามกลุ่มแล้วช่วยกักกาดรนอแหล่งน้ำมา1แหล่งโดยจะให้เพื่อนๆทายว่าแหล่งน้ำที่วาดมาจากที่ไหน อยู่จังหวัดใด แล้วชื่อว่าอะไร กลุ่มของฉัน วาดน้าตกเอราวัณและอาจารย์ก็ให้นักศึกษาออกแบบที่กักเก็บน้ำ
ภาพบรรยากาศในชั้นเรียน
ทักษะที่ 1 การสังเกต (Observing) หมายถึง การใช้ประสาทสัมผัสของร่างกายอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ได้แก่ หู ตา จมูก ลิ้น กายสัมผัส เข้าสัมผัสกับวัตถุหรือเหตุการณ์เพื่อให้ทราบ และรับรู้ข้อมูล รายละเอียดของสิ่งเหล่านั้น โดยปราศจากความคิดเห็นส่วนตน ข้อมูลเหล่านี้จะประกอบด้วย ข้อมูลเชิงคุณภาพ เชิงปริมาณ และรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการสังเกต
ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ
– สามารถแสดงหรือบรรยายคุณลักษณะของวัตถุได้ จากการใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง
– สามารถบรรยายคุณสมบัติเชิงประมาณ และคุณภาพของวัตถุได้
– สามารถบรรยายพฤติการณ์การเปลี่ยนแปลงของวัตถุได้
ทักษะที่ 2 การวัด (Measuring) หมายถึง การใช้เครื่องมือสำหรับการวัดข้อมูลในเชิงปริมาณของสิ่งต่างๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลเป็นตัวเลขในหน่วยการวัดที่ถูกต้อง แม่นยำได้ ทั้งนี้ การใช้เครื่องมือจำเป็นต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด รวมถึงเข้าใจวิธีการวัด และแสดงขั้นตอนการวัดได้อย่างถูกต้อง
ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ
– สามารถเลือกใช้เครื่องมือได้เหมาะสมกับสิ่งที่วัดได้
– สามารถบอกเหตุผลในการเลือกเครื่องมือวัดได้
– สามารถบอกวิธีการ ขั้นตอน และวิธีใช้เครื่องมือได้อย่างถูกต้อง
– สามารถทำการวัด รวมถึงระบุหน่วยของตัวเลขได้อย่างถูกต้อง
ทักษะ ที่ 3 การคำนวณ (Using numbers) หมายถึง การนับจำนวนของวัตถุ และการนำตัวเลขที่ได้จากนับ และตัวเลขจากการวัดมาคำนวณด้วยสูตรคณิตศาสตร์ เช่น การบวก การลบ การคูณ การหาร เป็นต้น โดยการเกิดทักษะการคำนวณจะแสดงออกจากการนับที่ถูกต้อง ส่วนการคำนวณจะแสดงออกจากการเลือกสูตรคณิตศาสตร์ การแสดงวิธีคำนวณ และการคำนวณที่ถูกต้อง แม่นยำ
ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ
– สามารถนับจำนวนของวัตถุได้ถูกต้อง
– สามารถบอกวิธีคำนวณ แสดงวิธีคำนวณ และคิดคำนวณได้ถูกต้อง
ทักษะที่ 4 การจำแนกประเภท (Classifying) หมายถึง การเรียงลำดับ และการแบ่งกลุ่มวัตถุหรือรายละเอียดข้อมูลด้วยเกณฑ์ความแตกต่างหรือความสัมพันธ์ใดๆอย่างใดอย่างหนึ่ง
ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ
– สามารถเรียงลำดับ และแบ่งกลุ่มของวัตถุ โดยใช้เกณฑ์ใดได้อย่างถูกต้อง
– สามารถอธิบายเกณฑ์ในเรียงลำดับหรือแบ่งกลุ่มได้
ทักษะที่ 5 การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา (Using space/Time relationships)
สเปสของวัตถุ หมายถึง ที่ว่างที่วัตถุนั้นครองอยู่ ซึ่งอาจมีรูปร่างเหมือนกันหรือแตกต่างกับวัตถุนั้น โดยทั่วไปแบ่งเป็น 3 มิติ คือ ความกว้าง ความยาว และความสูง ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสของวัตถุ ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่าง 3 มิติ กับ 2 มิติ ความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่งที่อยู่ของวัตถุหนึ่งกับวัตถุหนึ่ง
ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสของวัตถุกับเวลา ได้แก่ ความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของวัตถุกับช่วงเวลา หรือความสัมพันธ์ของสเปสของวัตถุที่เปลี่ยนไปกับช่วงเวลา
ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ
– สามารถอธิบายลักษณะของวัตถุ 2 มิติ และวัตถุ 3 มิติ ได้
– สามารถวาดรูป 2 มิติ จากวัตถุหรือรูป 3 มิติ ที่กำหนดให้ได้
– สามารถอธิบายรูปทรงทางเราขาคณิตของวัตถุได้
– สามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุ 2 มิติ กับ 3 มิติได้ เช่น ตำแหน่งหรือทิศของวัตถุ และตำแหน่งหรือทิศของวัตถุต่ออีกวัตถุ
– สามารถบอกความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของวัตถุกับเวลาได้
– สามารถบอกความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงขนาด ปริมาณของวัตถุกับเวลาได้
ทักษะที่ 6 การจัดกระทำ และสื่อความหมายข้อมูล (Communication) หมายถึง การนำข้อมูลที่ได้จากการสังเกต และการวัด มาจัดกระทำให้มีความหมาย โดยการหาความถี่ การเรียงลำดับ การจัดกลุ่ม การคำนวณค่า เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายได้ดีขึ้น ผ่านการเสนอในรูปแบบของตาราง แผนภูมิ วงจร เขียนหรือบรรยาย เป็นต้น
ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ
– สามารถเลือกรูปแบบ และอธิบายการเลือกรูปแบบในการเสนอข้อมูลที่เหมาะสมได้
– สามารถออกแบบ และประยุกต์การเสนอข้อมูลให้อยู่ในรูปใหม่ที่เข้าใจได้ง่าย
– สามารถเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เข้าใจได้ง่าย
– สามารถบรรยายลักษณะของวัตถุด้วยข้อความที่เหมาะสม กะทัดรัด และสื่อความหมายให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย
ทักษะที่ 7 การลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring) หมายถึง การเพิ่มความคิดเห็นของตนต่อข้อมูลที่ได้จากการสังเกตอย่างมีเหตุผลจากพื้นฐานความรู้หรือประสบการณ์ที่มี
ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ คือ สามารถอธิบายหรือสรุปจากประเด็นของการเพิ่มความคิดเห็นของตนต่อข้อมูลที่ได้มา
ทักษะที่ 8 การพยากรณ์ (Predicting) หมายถึง การทำนายหรือการคาดคะเนคำตอบ โดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการสังเกตหรือการทำซ้ำ ผ่านกระบวนการแปรความหายของข้อมูลจากสัมพันธ์ภายใต้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ คือ สามารถทำนายผลที่อาจจะเกิดขึ้นจากข้อมูลบนพื้นฐานหลักการ กฎ หรือทฤษฎีที่มีอยู่ ทั้งภายในขอบเขตของข้อมูล และภายนอกขอบเขตของข้อมูลในเชิงปริมาณได้
ทักษะที่ 9 การตั้งสมมติฐาน (Formulating hypotheses) หมายถึง การตั้งคำถามหรือคิดคำตอบล่วงหน้าก่อนการทดลองเพื่ออธิบายหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ ว่ามีความสัมพันธ์อย่างไรโดยสมมติฐานสร้างขึ้นจะอาศัยการสังเกต ความรู้ และประสบการณ์ภายใต้หลักการ กฎ หรือทฤษฎีที่สามารถอธิบายคำตอบได้
ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ
– สามารถตั้งคำถามหรือคิดหาคำตอบล่วงหน้าก่อนการทดลองได้
– สามารถตั้งคำถามหรือคิดหาคำตอบล่วงหน้าจากความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆได้
ทักษะที่ 10 การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining operationally) หมายถึง การกำหนด และอธิบายความหมาย และขอบเขตของคำต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาหรือการทดลองเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันระหว่างบุคคล
ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ คือ สามารถอธิบายความหมาย และขอบเขตของคำหรือตัวแปรต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา และการทดลองได้
ทักษะที่ 11 การกำหนด และควบคุมตัวแปร (Identifying and controlling variables) หมายถึง การบ่งชี้ และกำหนดลักษณะตัวแปรใดๆให้เป็นเป็นตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น และตัวแปรใดๆให้เป็นตัวแปรตาม และตัวแปรใดๆให้เป็นตัวแปรควบคุม
ตัวแปรต้น คือ สิ่งที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดผลหรือสิ่งที่ต้องการทดลองเพื่อให้ทราบว่าเป็นสาเหตุของผลที่เกิดขึ้นหรือไม่
ตัวแปรตาม คือ ผลที่เกิดจากการกระทำของตัวแปรต้นในการทดลอง
ตัวแปรควบคุม คือ ปัจจัยอื่น ๆ นอกเหนือจากตัวแปรต้นที่อาจมีผลมีต่อการทดลองที่ต้องควบคุมให้เหมือนกันหรือคงที่ขณะการทดลอง
ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ คือ สามารถกำหนด และอธิบายตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุมในการทดลองได้
ทักษะที่ 12 การทดลอง (Experimenting) หมายถึง กระบวนการปฏิบัติ และทำซ้ำในขั้นตอนเพื่อหาคำตอบจากสมมติฐาน แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ
1. การออกแบบการทดลอง หมายถึง การวางแผนการทดลองก่อนการทดลองจริงๆ เพื่อกำหนดวิธีการ และขั้นตอนการทดลองที่สามารถดำเนินการได้จริง รวมถึงวิธีการแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นขณะทำการทดลองเพื่อให้การทดลองสามารถดำเนินการให้สำเร็จลุล่วงด้วยดี
2. การปฏิบัติการทดลอง หมายถึง การปฏิบัติการทดลองจริง
3. การบันทึกผลการทดลอง หมายถึง การจดบันทึกข้อมูลที่ได้จากการทดลองซึ่งอาจเป็นผลจากการสังเกต การวัดและอื่น ๆ
ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ
– สามารถออกแบบการทดลอง และกำหนดวิธี ขั้นตอนการทดลองได้ถูกต้อง และเหมาะสมได้
– สามารถระบุ และเลือกใช้อุปกรณ์ในการทดลองอย่างเหมาะสม
– สามารถปฏิบัติการทดลองตามขั้นตอนได้อย่างถูกต้อง
– สามารถบันทึกผลการทดลองได้อย่างถูกต้อง
ทักษะที่ 13 การตีความหมายข้อมูล และการลงข้อมูล (Interpreting data and conclusion) หมายถึง การแปรความหมายหรือการบรรยายลักษณะและสมบัติของข้อมูลที่มีอยู่ การตีความหมายข้อมูลในบางครั้งอาจต้องใช้ทักษะอื่น ๆ เช่น ทักษะการสังเกต ทักษะการคำนวณ
การลงข้อมูล หมายถึง การวิเคราะห์ และการสรุปผลความสัมพันธ์ของข้อมูล สรุปประเด็นสำคัญของข้อมูลที่ได้จากการทดลองหรือศึกษา
ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ คือ
– สามารถในการวิเคราะห์ และสรุปประเด็นสำคัญ รวมถึงการแปลความหมายหรือบรรยายลักษณะของข้อมูล
– สามารถบอกความสัมพันธ์ของข้อมูลได้
ภาพบรรยากาศในชั้นเรียน
ประเมินตนเอง
วันนี้ฉันตั้งใจเรียนและช่วยกันทำงานที่อาจารย์ได้มอบหมายให้ทำในห้องอย่างตั้งใจและรู้สึกสนุกสนานที่ได้ทำกิจกรรมกับเพื่อนในห้องเรียน
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆช่วยกันทำงานที่อาจารย์มอบหมายกันอย่างตั้งใจและให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมต่างๆในห้องเรียนเป็นอย่างดี
ปะเมินอาจารย์
อาจารย์สอนดี อธิบายการสอนและวิธีการสอนได้อย่างชัดเจน เข้าใจง่าย